วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ข้อสอบปลายภาค

ข้อสอบปลายภาค วิชา ระบบการสื่อสารข้อมูล 2/49
ตอนที่1

1.พื้นที่สัญญาณครอบคลุมการทำงานเรียกว่าอะไร
ก.AP ค.ESS
ข.BSS ** ง.DCF

2.ข้อใดไม่ถูกต้องในการกล่าวถึง Rang ของความถี่
ก. 902 MHz-928 MHz ค.5.725GHz-5.855GHz***
ข.2.400 GHz-204835 GHz ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข.

จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามจากข้อ 3-8 **เขียนคำตอบลงในช่อง ก.
A. industry
B. Science
C. Medical
D. 900 MHz
E. 2.400 GHz
F. IEEE802.11a
G. IEEE802.11b
H. 54 Mbits
I. 2 Mbits
J. 11 Mbits
K. DSSS
L. FHSS
M. ISM

F 3. Data Rate สูงสุดที่สามารถส่งข้อมูลได้ใน wireless Lan ที่ใช้ Machanism แบบOFDM
E 4.Radio Frequency ที่ใช้งานเยอะที่สุดใน IEEE802.11
K 5.IEEE802.11ใช้ mechanism แบบใด
K 6.Machanism แบบใดที่มี Data Rate 11 Mbits
M 7. ย่านความถี่ที่อนุญาตให้ได้ในงานอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และการแพทย์

8. Radio frequency 2.400 GHz มีกี่ channel
ก. 54
ข. 69
** ค. 79
ง. 8

9. ในการ hop แต่ละ hop ใช้การ synchronize ต่างกันเท่าไหร่
**ก. 0.4 ms per hop*
ข. 0.45 ms per hop
ค. 0.2 ms per hop
ง. 0.25 ms per hop

10. สถาปัตยกรรมของ Wireless lan ใน mode ใดที่ต้องเดินสาย wire network
ก. Ad-hoc
ข. Peer to peer
**ค. Infrastructure*
ง. Bss

11. Routing protocol มีกี่แบบ อะไรบ้าง
ก. 2 แบบ Link state & Distance Vector
ข. 2 แบบ Link state & Dynamic
**ค. 2 แบบ Dynamic & Static
ง. 2 แบบ BGP & SPF
12. ข้อใดไม่ใช่ข้อพิจารณาลักษณะของ routing ที่ดี
ก. Cost ต่ำ
ข. Delay ต่ำ
**ค. Space ต่ำ
ง. Hop ต่ำ
13. Protocol BGP พิจารณาการส่งข้อมูลจากอะไร
ก. จำนวนลิงค์
ข. ระยะทาง
**ค. จำนวน Router
ง. ราคาเช่า
14. ลักษณะสำคัญของ Routing table ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. ต้นทาง
ข. ปลายทาง
ค. ต้นทาง ปลายทาง
**ง. ต้นทาง โปรโตคอล ปลายทาง

15. OSFP (Open Shortest Path First) เป็นชื่อของ
ก. Algorithm
**ข. Protocol
ค. Router
ง. Routing Table

16. ชนิดของเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้รับ- ส่งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ
ก. Grade index Multimode
ข. Step index Multimode
**ค. Single Mode
ง. ถูกทุกข้อ

17. แกนกลางที่เป็นใยแก้วนำแสงเรียกว่าอะไร
ก. Jacket ค. Cladding
**ข. Core ง. Fiber
เฉลย ข.Core

18. แสงที่เดินทางในเส้นใยแก้วนำแสงจะตกกระทบตรงมุม คือลักษณะของเส้นใยแบบใด
ก. Grade Index Multimode ค. Single Mode
**ข. Step Index Multimode ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข.Step Index Multimode

19. แสงที่เดินทางในเส้นใยแก้วนำแสงจะเป็นเส้นตรง คือลักษณะของเส้นใยแก้วแบบใด
ก. Grade Index Multimode **ค. Single Mode
ข. Step Index Multimode ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ค.Single Mode

20. ต้นกำหนดแสง(optical source) ที่มี Power ของแสงเข้มข้น
**ก. Laser ค. APD
ข. LED ง. PIN-FET
เฉลย ก. Laser

21. ข้อใดคือ Fast Ethernet
ก. 10base5 ค. 1000baseFX
**ข. 100baseFL ง. 10GbaseTX
เฉลย ข. 100baseFL

22. 10BaseF ใช้สายสัญญาณอะไรในการส่งข้อมูล
ก. UTP ค. Coaxial
ข. STP ** ง. Fiber Optic
เฉลย ง. Fiber Optic

23. ข้อใดไม่ใช่ Ethernet แบบ 100 mbps
ก. 1000BaseT ค. 1000BaseX
**ข. 100BaseTX ง. 1000BaseFL
เฉลย ข. 100BaseTX

24. ขนาด Frame ที่เล็กที่สุดของ Gigbit Ethernet คือ
ก. 53 byte ค. 128 byte
ข. 64 byte ง. 512 byte
เฉลย

25. Ethernet ใช้ protocol ใดในการตรวจสอบการส่งข้อมูล
ก. LLC **ค. CSMA/CD
ข. CSMA/CA ง. ALOHA
เฉลย ค. CSMA/CD

26. Ethernet 10baseT ต่อยาวกี่เมตรสูงสุด
ก. 80 ม. ค. 150 ม.
**ข. 100 ม. ง. 185 ม.
เฉลย ข. 100 ม.

27. ใครเป็นผู้กำหนดมาตรฐานของ Ethernet
ก. OSI ค. ISO
**ข. IEEE ง. CCITT

28. 10Base5 ใช้สาย Coaxial แบบใด
ก. Thin ค. UTP
**ข. Thick ง. STP

29. Fast Ethernet มีความเร็วเท่าใด
ก. 10 mbps ค. 1000 mbps
**ข. 100 mbps ง. 10 Gbps

30. 100Mbps, baseband, long wavelength over optical fiber cable คือมาตรฐานของ
ก. 1000 Base-LX ค. 1000 Base-T2
**ข. 1000 Base-FX ง. 1000 Base-T4


31. ATM มีขนาดกี่ไบต์
ก. 48 ไบต์ ต. 64 ไบต์
**ข. 53 ไบต์ ง. 123 ไบต์

32. CSMA พัฒนามาจาก
ก. CSMA/CA ค. CSMAข. CSMA/CD **ง. ALOHA

33. Internet เกิดขึ้นที่ประเทศอะไร
ก. AU **ค. USAข. JP ง. TH

34. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการขนถ่ายข้อมูล หรือ Transport technology
**ก. SDH ค. Mobile
ข. ATM ง. DWDM

35. ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก. CS internet ค. Admin
ข. Operator **ง. ISP

36. การแจกจ่ายหมายเลขไอพีแอดเดรส ให้กับเครื่องลูกโดยอัตโนมัติเรียกว่าอะไร
ก. DNS **ค. DHCPข. FTP ง. Proxxy


37. การถ่ายโอนข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก. DNS
ข. FTP**
ค. DHCP
ง. Proxxy

38. โปรโตคอลการสื่อสารที่เป็น offline
ก. ICMP
ข. TCP
ค. UDP**
ง. ARP

39. การหาเส้นทางการส่งข้อมูลเรียกว่า
ก. Routing**
ข. Routing Protocol
ค. Routing Table
ง. Router

40. ข้อใดไม่มีในขั้นตอนการทำ server 7 พ.ค 48
ก. DHCP**
ข. DNS
ค. FTP
ง. Virtual host
41. หมายเลข IP Class ใดรองรับการทำงานของ host ได้สูงสุด
ก. A**
ข. B
ค. C
ง. D
42. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างชนิดเข้าด้วยกันคือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router**

43. การ set ค่าความสำคัญสูงสุด (High priority) ของ packet เป็นหน้าที่ของ function ใดต่อไปนี้
ก. PIFS**
ข. SIFS
ค. DIFS
ง. MIB

44. การป้องกันการชนกันของการส่งข้อมูลใด WLAN ใช้หลักการใด
ก. ALOHA
ข. CSMA
ค. CSMA/CA
ง. CSMA/CD**

45. Data Rate สูงสุดขนาด 54 Mb ที่ใช้ส่งได้ใน WLAN ใช้มาตรฐานใดและใช้หลัก mechanism (กลไกการส่ง) แบบใด
ก. IEEE802.11a; DSSS
ข. IEEE802.11b; FHSS
ค. IEEE802.11a; OFDM***
ง. IEEE802. 11b; OFDM

46. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณ D/A คือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem**
ง. Router

47. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รอดแคสสัญญาณ (Broadcast) คือ
ก. Hub**
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router

48. Mechanism ใดของ WLAN ที่มีการรบกวน (Interference) สูงที่สุดใด
ก. Diffuse IR
ข. DSSS
ค. OFDM
ง. FHSS**

49. CIDR 192.168.0.0/24 จะมีค่า subnet mask เท่าใด
ก. 255.255.0.0
ข. 255.255.128.0
ค. 255.255.255.0**
ง. 255.255.255.192

50. การ Roaming ใช้กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่าง
ก. AP กับ AP**
ข. AP กับ AP
ค. AP กับ BSS
ง. BSS กับ ESS

วันพุธที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ข้อสอบความรู้เบื้องต้น Topology 5 ข้อ ปรนัย

1.การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบใดที่ข้อมูลวิ่งแบบทางเดียวบนสายสัญญษณ
a. ฺStar Topology
b. Bus Topology
c. Star-Ring Topology
d. Ring Topology

2.การแบ่งปันการใช้ข้อมูลในระบบเครือข่ายยุคแรก ๆ ใช้การบันทึกข้อมูลลงดิสก์แล้วส่งไปยังผู้ใช้รายอื่น ๆ เรียกระบบเครือข่ายแบบนี้ว่าอะไร
a. Diskette Netwrok
b. LinkerNet
c. SneakerNet
d. Topology

3.ข้อใดคือข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบ Ring Topology
a. ใช้สายเคเบิลจำนวนมาก
b. ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ส่วนกลางเสียเป็นผลให้ระบบล้มเหลว
c. ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียจะเป็นผลกระทบทั้งระบบ
d. ต้องมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการติดตั้งระบบ

4.Topogogy แบบใดที่ใช้สายเคเบิลน้อยที่สุด
a. Star Topology
b. Bus Topology
c. Ring Topology
d. Mesh Topology

5.การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้สายเคเบิลร่วมกันเป็นการเชื่อมต่อแบบใด
a. Star Topology
b. Ring Topology
c. Bus Topology
d. Mesh Topology

e-learning ที่เกี่ยวข้องที่สนใจ

e-learning ที่เกี่ยวข้องที่สนใจ
- e-learning ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้ชื่อโครงการ ChulaOnline มี URL ในการเรียกดูคือ www.chulaonline.com โดยปัจจุบันเปิดบริการให้ความรู้หลากหลายวิชา ทั้งสำหรับนักศึกษาและบุคคลภายนอก
ข้อดี เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ค้นหาความรู้ในวิชาที่เรียน สิ่งที่อยากศึกษาเพิ่มเติมคือเนื้อหาเรื่องการทำโปรเจ็ค

Topology

1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะนั้น
สัญญาณข้อมูลจากโหนดผู้ส่งเมื่อเข้าสู่บัส ข้อมูลจะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของบัส แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่า ตำแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำแหน่งของตนหรือไม่ ถ้าตรง ก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนด ตน แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สัญญาณข้อมูลนั้นผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครือข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู้สัญญาณข้อมูลได้ แต่จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่จะรับข้อมูลนั้นไปได้


ข้อดี
- ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก


ข้อเสีย
- อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
- การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551

e-Learning ที่เกี่ยวข้อง

จาก โรงเรียนพิมายวิทยา โดย ... วีรจินต์ นาคะนิเวศน์
• Bank of America Securities: e-learning คือการมาบรรจบกันของการเรียนและอินเทอร์เน็ต
• Cornelia Weggen, WR Hambrecht & Co: e-learning [คือ] การส่งเนื้อหาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิคทั้งมวล ซึ่งหมายรวมถึงอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต ดาวเทียม วิทยุโทรทัศน์ ออดีโอ/วิดีโอเทป TV แบบโต้ตอบ และ CD-ROM
• Elliott Masie, The Masie Center: e-learning คือการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเครือข่ายเพื่อออกแบบ นำส่ง เลือก บริหารจัดการ และขยายขอบเขตของการเรียนออกไป
• Arista Knowledge Systems: e-learning คือการใช้พลานุภาพของเครือข่ายเพื่อให้การเรียนเกิดขึ้นได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่
• ChulaOnline : ทางเลือกหนึ่งในปัจจุบันที่มีขึ้นเพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ ช่วยให้ผู้เรียนซึ่งอยู่ในจุดที่ห่างไกลจากผู้สอนสามารถที่จะเรียนเนื้อหาวิชา หลักสูตรต่างๆได้อย่างไม่จำกัดสถานที่และเวลา
• Thai2Learn : การศึกษาโดยใช้สื่อการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต หรือ ซีดี รอม โดยมีระบบคอมพิวเตอร์รองรับ เพื่อให้ผู้เรียน สามารถได้เรียนรู้ในสิ่งที่ต้องการ และอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนในการเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
• iknow : ระบบที่มีกระบวนการเรียนการสอนที่ใช้ Electronic อาจเป็นได้ทั้ง offline, online, server-based, web-based หรือ เครื่องที่ใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่น เครื่องวิทยุ - เทป - ซีดีรอม - TV - computer และแม้กระทั่งผ่านระบบดาวเทียม ปัจจุบันเป็นที่เข้าใจว่า e-learning หมายถึงการศึกษาระบบที่ใช้ Internet technology เป็นหลัก
• Thailand Securities Institute (TSI) : E เป็นอักษรย่อของคำว่า Electronics (อิเล็กทรอนิกส์) ซึ่งเมื่อรวมกับคำว่า Learning ที่แปลว่า การเรียนรู้ ก็จะได้คำจำกัดความของ E-Learning คือ ระบบหรือกระบวนการเรียนรู้ หรือการเรียนการสอน ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ วิดีโอ ซีดีรอม ระบบดาวเทียม ระบบ LAN และ Internet

คำอธิบายรายวิชา เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการกระจาย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์มินอล ขั้นของโปรโตคอล มาตราฐาน OSI รูปแบบต่างๆของเตรื่อข่ายX.25Network และดิจิตอล Network การประมวลผลแบบตาม ลำดับและแบบขนาน การไปป์ไลน์ (Pipelining) การประมวลผลแบบเวคเตอร์ (vecter Processing) การประมวลผลแบบอะเรย์ (Array Processors) มัลติโพรเซสเซอร์ และฟอลท์โทเลอร์แรนซ์
( Fault Tolerance )

วันพุธที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2551

การบ้านหลักการออกแบบ Optical Fiber Digital Communication

แบบฝึกหัด
ข้อ1

30 mbit ระยะทาง 45 km
1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 30*45 =1,350
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -15
เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -60
เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po - Por
แทนค่า (-15) - (-60)
= 65
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50
กำหนด Ls = 1db
กำหนด Pm = 6db
แทนค่า Lf = 65- (0.50 +1 +6
= 57.50
8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 57.50
Lfimax = 2
แทนค่า 57.50/2
= 28.75km

ข้อ2.
50 mbit ระยะทาง 100 km
1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 50*100 = 5,000
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -20
เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -50
เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po - Por
แทนค่า (-20) - (-50)
= 70
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50
กำหนด Ls = 1db
กำหนด Pm = 5db
แทนค่า Lf = 70- (0.50 +1 +5)
= 31.75
8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 63.50
Lfimax = 2
แทนค่า 63.50/2
= 31.57km



วันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2551

เส้นใยแก้วนำแสง

เส้นใยแก้วนำแสง (fiber optic)
เส้นใยแก้วนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากแก้วซึ่งมีความบริสุทธิ์สูงมาก
เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะเป็นเส้นยาวขนาดเล็ก มีขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา เส้นใยแก้วนำแสงที่ดี
ต้องสามารถนำสัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้ โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยมากเส้นใยแก้วนำแสง
สามารถแบ่งตามความสามารถในการนำแสงออกได้เป็น 2 ชนิด
คือ เส้นใยแก้วนำแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical Fibers, SM) และชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเส้นใยแก้วนำแสง ที่ทำมาจากพลาสติกเพื่องานบางอย่างที่ไม่คำนึงถึงการสูญเสียสัญญาณมากนัก เช่น การสื่อสารในระยะทางสั้น ๆ ไม่กี่เมตร

เส้นใยแก้วนำแสงประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน
คือ ส่วนที่เป็นตัวกลางนำแสงซึ่งทำจากวัสดุ เช่น แก้ว พลาสติก เรียกว่าแกน (core) กับส่วนที่เป็นที่ห่อหุ้มแกน (cladding)
โดยดัชนีหักเหของที่ห่อหุ้มแกนจะมีค่าน้อยกว่าดัชนีหักเหของแกนทั้งนี้ก็เพื่อกั้นไม่ให้แสงภายในเส้นใยแก้วนำแสงทะลุออกมาภายนอก
เส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นจะมีเพียงแกนกับที่ห่อหุ้มแกนเท่านั้น จึงทำให้เส้นใยแก้วนำแสงดังกล่าวมีขนาดเล็กมาก
แต่ในเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้งานทั่วไปนั้นถัดจากส่วนที่ห่อหุ้มแกนออกมา จะเป็นส่วนที่ห่อหุ้มสำหรับทำหน้าที่ป้องกันการฉีกขาดของเส้นใยแก้วนำแสง
และเป็นส่วนที่รองรับแรงดึงแรงบิดที่กระทำต่อเส้นใยแก้วนำแสง รวมทั้งป้องกันไม่ให้แสงหรือรังสีอินฟราเรดจากภายนอกเข้ามารบกวนสัญญาณ
ภายในเส้นใยแก้วนำแสง ส่วนห่อหุ้มนี้มักจะทำจากวัสดุเหนียวสีดำ
สำหรับเส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นที่มีขนาดใหญ่มาก จะมีการใส่สายเคเบิ้ลโลหะด้วยเพื่อเพิ่มความแข็งแรงทนทาน
ในอาคารบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย สำนักงานอาคารอุตสาหกรรมต่างๆ ล้วนแล้วแต่ต้องใช้สายสัญญาณเพื่อเชื่อมโยงระบบสื่อสาร แต่เดิมสายสัญญาณที่นำมาใช้
ได้แก่ สายตัวนำทองแดง ปัจจุบันสายสัญญาณระบบสื่อสารมีความจำเป็นมากขึ้น โดยเฉพาะ ระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์
และมีแนวโน้มที่จะรวมระบบสื่อสาร อย่างอื่นประกอบเข้ามาในระบบด้วย เช่น ระบบเคเบิลทีวี ระบบโทรศัพท์
ระบบการบริการข้อมูลข่าวสารเฉพาะของบริษัทผู้ให้บริการต่างๆ ความจำเป็นลักษณะนี้ จึงมีผู้ตั้งคำถามว่า ถึงเวลา
แล้วหรือยังที่จะให้อาคารที่สร้างใหม่ มีระบบเครือข่ายสายสัญญาณด้วยเส้นใยแก้วนำแสง หากพิจารณาให้ดีพบว่า เวลานั้นได้มาถึงแล้ว
ปัจจุบันราคาของเส้นใยแก้วนำแสงที่เดินในอาคารมีราคาใกล้เคียงกับสาย UTP แบบเกรดที่ดี เช่น CAT 5 ขณะเดียวกันสายเส้นใยแก้วนำแสง ให้ประสิทธิภาพที่สูงกว่ามาก และรองรับการใช้งานในอนาคตได้มากกว่า สายยูทีพี (UTP) แบบ CAT 5 รองรับความเร็วสัญญาณ
ได้ 100 เมกะบิตต่อวินาที และมีข้อจำกัดในเรื่องความยาวเพียง 100 เมตร ขณะที่สายใยแก้วนำแสงรองรับความถี่สัญญาณได้หลายร้อยเมกะเฮิรตซ์
และยังใช้ได้กับ ความยาวถึง 2,000 เมตร การพัฒนาในเรื่องต่างๆของเส้นใยแก้วนำแสงได้ก้าวมาถึงจุดที่จะนำมาใช้กันอย่างกว้างขวางแล้ว
บทความนี้จึงขอนำเสนอเพื่อแสดงให้เห็นว่า เส้นใยแก้วนำแสงมีจุดเด่นอย่างไร มีแนวโน้มการใช้งานด้านใดบ้าง
และที่สำคัญคือ จะได้เป็นข้อมูลสำหรับการศึกษา และทำความเข้าใจกับเส้นใยแก้วนำแสง เพื่อว่าจะได้เห็นข้อดีข้อเสีย
รวมถึงแนวทางการนำมา ประยุกต์ให้คุ้มค่า โดยเฉพาะการมองแนวทางของเทคโนโลยีในระยะไกล

จุดเด่นของสายใยแก้วนำแสง
จุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงมีหลายประการ โดยเฉพาะจุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง
ที่จะนำมาใช้แทนตัวนำทองแดง จุดเด่นเหล่านี้ มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และดีขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งประกอบด้วย
ความสามารถในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เส้นใยแก้วนำแสงที่เป็นแท่งแก้ว ขนาดเล็ก มีการโค้งงอได้
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใช้กันมากคือ 62.5/125 ไมโครเมตร เส้นใยแก้วนำแสงขนาดนี้ เป็นสายที่นำมาใช้ภายในอาคารทั่วไป
เมื่อใช้กับคลื่นแสงความยาวคลื่น 850 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้มากกว่า 160 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร
และถ้าใช้ความยาวคลื่น 1,300 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้กว่า 500 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร
และถ้าลดความยาวลงเหลือ 100 เมตร จะใช้กับความถี่ของสัญญาณมากกว่า 1 กิกะเฮิรตซ์ได้
ดังนั้นจึงดีกว่าสายยูทีพีแบบแคต 5 ที่ใช้กับสัญญาณได้ 100 เมกะเฮิรตซ์

กำลังสูญเสียต่ำ
เส้นใยแก้วนำแสงมีคุณสมบัติในเชิงการให้แสงวิ่งผ่านได้ การบั่นทอนแสงมีค่าค่อนข้างต่ำ ตามมาตรฐานของเส้นใยแก้วนำแสง
การใช้เส้นสัญญาณนำแสงนี้ใช้ได้ยาวถึง 2,000 เมตร หากระยะทางเกินกว่า 2,000 เมตร ต้องใช้ รีพีตเตอร์ทุกๆ 2,000 เมตร
การสูญเสียในเรื่องสัญญาณจึงต่ำกว่าสายตัวนำทองแดงมาก ที่สายตัวนำทองแดงมีข้อกำหนดระยะทางเพียง 100 เมตร
หากพิจารณาในแง่ความถี่ที่ใช้ ผลตอบสนองทางความถี่มีผลต่อกำลังสูญเสีย โดยเฉพาะในลวดตัวนำทองแดง เมื่อใช้เป็นสายสัญญาณ
คุณสมบัติ ของสายตัวนำทองแดงจะเปลี่ยนแปลง เมื่อใช้ความถี่ต่างกัน โดยเฉพาะเมื่อใช้ความถี่ของสัญญาณที่ส่งในตัวนำทองแดง สูงขึ้น
อัตราการสูญเสียก็จะมากตามแต่กรณีของเส้นใยแก้วนำแสง เราใช้สัญญาณความถี่มอดูเลตไปกับแสง การเปลี่ยน
สัญญาณรับส่งข้อมูลจึงไม่มีผลกับกำลังสูญเสียทางแสง

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้
ปัญหาที่สำคัญของสายสัญญาณ แบบทองแดง คือ การเหนี่ยวนำโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัญหานี้มีมาก
ตั้งแต่เรื่องการรบกวนระหว่างตัวนำหรือเรียกว่า Crosstalk การไม่แมตซ์พอดีทางอิมพีแดนซ์ ทำให้มีคลื่นสะท้อนกลับ
การรบกวนจากปัจจัย ภายนอกที่เรียกว่า EMI ปัญหาเหล่านี้สร้างให้ผู้ใช้ต้องหมั่นดูแล แต่สำหรับเส้นใยแก้วนำแสง แล้ว
ปัญหาเรื่องเหล่านี้จะไม่มี เพราะแสงเป็นพลังงานที่มีพลังงานเฉพาะ และไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การเดินทาง
ในเส้นแก้วก็ปราศจากการรบกวนของแสงจากภายนอก

น้ำหนักเบา
เส้นใยแก้วนำแสงมีน้ำหนักเบากว่าเส้นลวดตัวนำทองแดง น้ำหนัก ของเส้นใยแก้วนำแสงขนาด 2 แกนที่ใช้ทั่วไป
มีน้ำหนักเพียงประมาณ 20 ถึง 50 เปอร์เซนต์ของสาย UTP แบบ CAT 5

ขนาดเล็ก
เส้นใยแก้วนำแสงมีขนาดทางภาคตัดขวางแล้ว เล็กกว่าลวดทองแดง มาก ขนาดของเส้นใยแก้วนำแสง เมื่อรวมวัสดุหุ้มแล้วมีขนาดเล็กกว่าสายยูทีพี
โดยขนาดของสายใยแก้วนี้ใช้พื้นที่ประมาณ 15 เปอร์เซนต์ ของเส้นลวดยูทีพีแบบ CAT 5

มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูงกว่า
การใช้เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะใช้ แสงเดินทางในข่าย จึงยากที่จะทำการแท๊ปหรือทำการดักฟังข้อมูล
มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน
การที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำกระแสไฟฟ้า การลัดลงจร การเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้าจึงไม่เกิดขึ้น

เส้นใยแก้วนำแสงมีราคาแพง
แนวโน้มทางด้านราคามีการเปลี่ยนแปลงราคาของเส้นใยแก้วนำแสงลดลง จนในขณะนี้ยังแพงกว่าสายยูททีพีอยู่บ้าง แต่ก็ไม่มากนักนอกจากนี้
หลายคนยังเข้าใจว่า การติดตั้งเส้นใยแก้วนำแสงมีข้อยุ่งยาก และต้องใช้คนที่มีความรู้ความชำนาญ เสียค่าติตั้งแพง ความคิดนี้ก็คงไม่จริง
เพราะการติดตั้งทำได้ไม่ยากนักเนื่องจากมีเครื่องมือพิเศษช่วยได้มาก เครื่องมือพิเศษนี้สามารถเข้าหัวสายได้โดยง่ายกว่าแต่เดิมมาก
อีกทั้งราคาเครื่องมือก็ถูกลงจนมีผู้รับติดตั้งได้ทั่วไป

เส้นใยแก้วนำแสงยังไม่สามารถใช้กับเครื่องที่ตั้งโต๊ะได้
ปัจจุบันพีซีที่ใช้ส่วนใหญ่ต่อกับแลนแบบอีเธอร์เน็ต ซึ่งได้ความเร็ว 10 เมกะบิต การเชื่อมต่อกับแลนมีหลายมาตรฐาน
โดยเฉพาะปัจจุบันหากใช้ความเร็วเกินกว่า 100 เมกะบิต สายยูทีพีรองรับไม่ได้ เช่น เอทีเอ็ม 155 เมกะบิต
แนวโน้มของการใช้งานระบบเครือข่ายมีทางที่ต้องใช้แถบกว้างสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะเมื่อต้องการให้พีซีเป็นมัลติมีเดียเพื่อแสดงผลเป็นภาพวิดีโอ
การใช้เส้นใยแก้วนำแสงดูจะเป็นทางออก พัฒนการของการ์ดก็ได้พัฒนาไปมากเอทีเอ็มการ์ดใช้ความเร็ว 155 เมกะบิต
ย่อมต้องใช้เส้นใยแก้วนำแสงรองรับ การใช้เส้นใยแก้นำแสงยังสามารถใช้ในการส่งรับวิดีโอคอนเฟอเรนซ์
หรือสัญญาณประกอบอื่น ๆ ได้ดี

ข้อสอบ เรื่อง เส้นใยแก้วนำแสง

ข้อสอบปรนัย เส้นใยแก้วนำแสง 10 ข้อ
1.เส้นใยแก้วนำแสงคืออะไร
ก.เป็นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากแก้วซึ่งมีความบริสุทธิ์สูงมาก
ข.เส้นที่ไม่มีความบริสุทธิ์เหลืออยู่แล้ว
ค.เป็นเส้นที่มีน้ำหนักมาก
ง.เส้นที่ไม่มีความทนทาน

2.เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะอย่างไร?.
ก.หนามีขนาดใหญ่
ข.ขนาดสั้น
ค.เป็นเส้นยาวขนาดเล็ก มีขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา
ง.ขนาดเท่าสายทองแดง

3.เส้นใยแก้วนำแสงเรียกอีกอย่างว่า?..
ก.ไฟเบอร์ติก
ข.ไฟออบติก
ค.ไฟนำทาง
ง.ไฟเบอร์ออปติก

4.เส้นใยแก้วนำแสงแบ่งออกเป็นกี่ แบบ?..
ก. 2 แบบ
ข. 3 แบบ
ค. 4 แบบ
ง. 5 แบบ

5.แสงสามารถเดินทางผ่านเส้นใยแก้วนำแสงได้อย่างไร?..
ก.แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง จะเกิดปรากฎการณ์ของการสะท้อน
ข.เมื่อแสงผ่านเข้ามาในสายไฟเบอร์ออพติก(เส้นใยแก้วนำ แสง)ที่ทำจากแก้ว จะเกิดการสะท้อนกลับหมดที่ผิวแก้ว
.แสงในเส้นใยแก้วนำแสงจะถูกทำให้สะท้อนกลับไปกลับมาระหว่างรอยต่อของแกนกลาง (core) และฉนวนที่หุ้ม (cladding) จากปลายข้างหนึ่งไปยังอีกปลายข้างหนึ่งของเส้นใยแก้วนำแสง
ง.นำสัญญาณแสงผ่านสายไฟเบอร์ออพติก

6.โดยทั่วไปเมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง จะเกิดปรากฎการณ์ใดขึ้น?..
ก.ของการสะท้อนและการหักเห
ข.การเบี่ยงเบน
ค.การเลี้ยวกลับ
ง.การหยุดนิ่ง

7.การใช้งานสายไฟเบอร์ออพติก(เส้นใยแก้วนำแสง) จะมีกี่ลักษณะ ?..
ก. 2 ลักษณะ
ข. 3 ลักษณะ
ค. 4 ลักษณะ
ง. 5 ลักษณะ

8.ในปัจจุบันการนำภาพของวัตถุผ่านสายไฟเบอร์ออพติก(เส้นใยแก้วนำแสง) เปรียบเทียบได้กับอะไร?..
ก. กล้องส่องทางไกล
ข. กล้องถ่ายรูป
ค. กล้องฉีดยาย
ง. กล้องตรวจอวัยวะภายในของมนุษย์

9.จุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงคืออะไร ?..
ก. สวยงาม
ข.จุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง ที่จะนำมาใช้แทนตัวนำทองแดง
ค. หาซื้อง่าย
ง. มีลักษณะทึบแสง

10.ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้กันมากคือ ?..
ก.62.5/125 ไมโครเมตร
ข.63.5/125 ไมโครเมตร
ค.64.5/125 ไมโครเมตร
ง.65.5/125 ไมโครเมตร

การสอบ CCNA CCNP CCIE

การสอบ CCNA
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ network media- การคอนฟิก router เบื้องต้นโดยใช้ Cisco IOS commands- การติดตั้ง และคอนฟิกเน็ตเวิร์กบน LAN, WAN- เข้าใจ และสามารถคอนฟิก routable protocols (IP, IPX, Apple Talk, etc.)- เข้าใจ และสามารถคอนฟิก routing protocols (RIP, IGRP, EIGRP, etc.)- ระบบความปลอดภัยบนเน็ตเวิร์กสถานที่คือกรุงเทพกับเชียงใหม่ส่วนค่าใช้จ่ายในการสอบ ประมาณ 8900
การสอบ CCNP
CCNP certification (Cisco Certified Network Professional) เป็น Network Specialist Certification ที่ได้รับการยอมรับทั่วโลก ผู้ที่ได้รับ CCNP Certified นั้นมีความสามารถในการติดตั้ง, ปรับแต่งและแก้ปัญหากับอุปกรณ์ Routers Router, LAN Switching ตลอดจน Access Server ในระดับ enterprise ขององค์กรได้ ทั้งนี้ข้อสอบใหม่ จะเน้นหัวข้อเนื้อหาใหม่ในด้าน security,converged networks, quality of service (QoS), virtual private networks (VPN) และ broadband technologies.ในการสอบ CCNP มีทั้งหมด 4 วิชาราคาสอบอยู่ที่ประมาณ 6,450 บาทครับ ทุกวิชาเท่ากันหมดครับสถานที่สอบที่ VNOHOW
การสอบ CCIE
CCIE - Cisco Certified Internetwork Expert CCIE เป็น Cert ระดับสูงของ cisco โดยจะมี 4 Track ย่อยๆ แบ่งไปตามลักษณะของการทำงาน เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ Cisco โดยแต่ละ Track จะแยกจากกันอย่างสิ้นเชิง หากต้องการทำงานในด้านใดในระดับสูง ก็เลือกจากข้อสอบในส่วนนี้Track ย่อยประกอบไปด้วยCCIE Service Provider CCIE Routing and Switching CCIE Security CCIE VoiceCisco Certified Internetwork Expert (CCIE) เป็นประกาศนียบัตรขั้นสูงสุดในส่วนของ Network Installation and Support Certificationและ Communication and Services Certification
สถานที่สอบ1. Bangalore (บังกาลอร์,อินเดีย)
2. Beijing (ไบจิง,จีน)
3. Brussels (กรุงบรัสเซล,เบลเยี่ยม)
4. Dubai (ดูไบ)
5. Hongkokg (ฮ่องกง)
6. Research Triangle Park (RTP)
7. San Jose (สองสถานที่ข้างต้น 6,7 อยู่แถวๆโซนอเมริกา)
8. Sao_Paolo (เซ้าเปาโล,บราซิล)
9. Sydney (ซิดนีย์,ออสเตรเลีย)
10. Tokyo (โตเกียว,ญี่ปุ่น)ค่าใช้จ่ายในเรื่อง CCIE Boot CAMP 250000 บาท ค่าสอบ มาคือว่าWriting ค่าสอบ 300 เหรียญ หรือ 10500 บาทLab ค่าสอบ 1250 เหรียญ หรือ 43750 บาทไหนจะค่าบินไปสอบ ค่ากินก็คงตกอยู่ประมาณ 10000 บาท

สรุปคำสั่ง OSPF

OSPF เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาใช้บนเน็ตเวิร์ก IP โดยคณะทำงาน Interior Gateway Protocol (IGP) ย่อยแห่งคณะกรรมการ Internet Engineering Task Force (IETF) คณะทำงานนี้ได้ถูกก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1998 เพื่อทำหน้าที่ออกแบบเร้าติ้งโปรโตคอลที่ใช้บนเน็ตเวิร์กภายในองค์กร โดยมีพื้นฐานมาจากอัลกอริทึมในทางคอมพิวเตอร์แบบ Shortest Path First (SPF) อัลกอริทึมนี้มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า Dijkstra’S Algorithm ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งตามชื่อของนักคณิตศาสตร์ที่เป็นผู้ออกแบบและคิดค้นอับกอริทึมนี้OSPFได้รับการออกแบบมาเพื่อเอาชนะข้อจำกัดต่าง ๆที่เคยมีในเร้าติ้งโปรโตคอลแบบ Distance Vector OSPF นั้นสามารถตอบสนองได้รวดเร็วต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในเน็ตเวิร์ก และมีการส่ง “triggered updates” ไปในทันทีโดยอัตโนมัติ และส่ง “Periodix update” ไปทุก ๆ ช่วงเวลาเช่น ทุก ๆ 30 นาที นอกจากนั้นยังมีกลไกล ที่ดีในการตรวจสอบสถานการณ์สื่อสาร ระหว่างเร้าเตอร์ปัจจุบันกับเร้าเตอร์ข้างเคียงต่าง ๆ ด้วย “ Hello Mechanism”โดยสรุปแล้ว OSPF มีคุณลักษณะที่สำคัญได้แก่- เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลมาตรฐานและเป็นมาตรฐานสากล ข้อกำหนดและพฤติกรรมต่าง ๆ ได้รับการอธิบายไว้อย่างชัดเจนใน RFC (Request for Comments) IETF ได้พัฒนา OSPF ขึ้นมาในปี 1988 ส่วนเวอร์ชันล่าสุดซึ่งรู้จักกันในนาม OSPF เวอร์ชัน 2 ได้รับการอธิบายไว้ใน RFC 2328- เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลที่อาศัยการอัปเดตสถานะของเน็ตเวิร์กอินเตอร์เฟซไปให้กับเร้าเตอร์เพื่อบ้านแล้วให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านสร้างภาพรวมของเน็ตเวิร์กทั้งหมด และคำนวณหาเส้นทางเอง แต่จะไม่ ส่งเร้าติ้งเทเบิลทั้งตารางไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านเหมือนกันในกรณีของ Distance Vector- มีการเลือกเส้นทางที่สั้นที่สุดโดยพิจารณาจากแบนด์วิดธ์ (Bandwidth)-รองรับการตั้งแอดเดรสแบบมีจำนวนบิตของ Subnet Mask ไม่เท่ากัน (Variable Length Subnet Mask: VLSM) และมีการส่ง Subnet Mask ไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านด้วย -รองรับการสร้างสิ่งที่เรียกว่า “OSPF Area” ซึ่งสามารถทำให้เน็ตเวิร์กที่ใช้งาน OSPF สามารถจัดแบ่งเน็ตเวิร์กออกเป็นโซนหรือพื้นที่ย่อย ๆ ได้ (เรียกว่าการแบ่ง Area) ทั้งนี้เพื่อจำกัดสโคป หรือขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงเน็ตเวิร์กโทโพโลยี-รอบรับการทำ “Route summarization”-รองรับการทำการกระจายแพ็กเก็ตไปบนเส้นทางที่มีแบนด์วิดธ์เท่ากัน-สามารถทำ “Route authentication” ระหว่างเร้าเตอร์เพื่อตรวจสอบตัวตนซึ่งกันและกันก่อนที่จะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน-ไวมากต่อพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงเน็ตเวิร์กโทโพโลยี (Fast convergence) Wireshark เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการดักจับ Packet ที่มีการรับส่งกันบนเครือข่าย ในการดักจับ Packet นั้น โปรแกรม Wireshark นั้นจะต้องทำงานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายนั้นNetwork Diagram ที่ใช้ Wireshark ในการดักจับ packet แสดงภาพของ Network Diagram ที่ใช้ในการดักจับ Packet ของการทำงานของ Open Shortest Path First (OSPF) Protocol ซึ่งจะเป็นการติดต่อเปลี่ยนแปลง Update Routing Protocol ระหว่าง Core Switch และ Router ใน Area เดียวกับการค้นหาเร้าเตอร์ ข้างเคียงที่รัน OSPF จะเกิดขึ้นด้วยการส่งแพ็กเก็ตพิเศษที่เรียกว่า HELLO PACKET ออกไปไปโดยใช้มัลติคาสก์แอดเดรส 224.0.0.5 หลังจากนั้นแอดเดรสของเร้าเตอร์ ข้างเคียงที่ค้นพบได้จะถูกเก็บไว้ในตาราง OSPF Neighbor Tableผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงหมายเลข IP Address ของเร้าเตอร์ และ Switch ข้างเคียง แต่ละตัวที่ค้นพบได้ทางซีเรียสอินเตอร์เฟซต่างๆ กัน เมื่อความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนบ้านถูกสร้างขึ้นได้สำเร็จ สถานะ (State) ที่เห็นจะอยู่ในสถานะ FULL หลังจากฟอร์มความสัมพันธ์ระหว่างกันได้แล้ว เร้าเตอร์จะมีการส่ง Hello packet ออกไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านทุก ๆ ระยะๆ ตามช่วงเวลาที่เรียกว่า Hello Interval เพื่อยืนยันว่าตนเองยังมีชีวิตอยู่ หากเร้าเตอร์ไม่ได้ รับ HELLO PACKET มาจาเร้าเตอร์เพื่อนบ้านหลังจากช่วงเวลาที่เรียกว่า Dead Interval ผ่านไปมันตะถือว่าเร้าเตอร์เพื่อนบ้านนั้น ๆ ได้ดาวน์ลงไปรูปแบบของ Hello Packetในการสร้างความสัมพันธ์ของ Protocol OSPF จาก Core Switch ที่มี Source IP Address เป็น 172.18.19.252 ซึ่งมี Destination IP Address เป็น 244.0.0.5 (Multicast Address)BGP (Border Gateway Protocol) เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางประเภท Exterior Gateway Routing ที่ใช้เพื่อการเชื่อมต่อเราเตอร์ (Router) และเครือข่ายที่อยู่ต่างโดเมน (Domain) กันบนอินเทอร์เน็ตBGP ใช้ Protocol TCP Port หมายเลข 179 เพื่อใช้ในการขนถ่ายข้อมูลข่าวสาร โดยมีการใช้ TCP เพื่อการสถาปนาการเชื่อมต่อก่อนจะแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเราเตอร์ BGP ทั้งสอง (Peer Router) จากนั้นก็จะทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งการเปิดสัมพันธไมตรีก่อนที่จะแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันต่อไปข้อมูลข่าวสารที่เราเตอร์ทั้งสองใช้เพื่อการแลกเปลี่ยนกัน รวมไปถึงข่าวสารที่แสดงถึงความสามารถในการเข้าถึงกันได้ โดยข่าวสารนี้เป็นในรูปแบบของเลขหมาย AS ของแต่ละฝ่าย ซึ่งต่างฝ่ายถือเป็นเส้นทางในการเข้าหากัน ข้อมูลนี้จะช่วยให้เราเตอร์สามารถสร้างผังของเส้นทางที่ปราศจากลูป (Loop) ในการเข้าหากัน อีกทั้งเราเตอร์ยังใช้เพื่อเป็นการกำหนดเส้นทางเชิงนโยบายที่มีเนื้อหาที่กำหนดข้อจำกัดต่าง ๆจุดประสงค์ของการใช้ BGP1.BGP ให้ประโยชน์อย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะการเชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ รวมทั้งลูกค้า และผู้ให้บริการโทรศัพท์ รวมทั้งเครือข่ายอื่น ๆ2.BGP เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่ายในรูปแบบของ Autonomous ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน3.BGP เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่ายในระดับ Enterprise หากองค์กรของท่านมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตแบบหลายเชื่อมต่อเพื่อผลแห่ง Redundancy BGP ก็สามารถทำ Load Balancing Traffic ได้บนเส้นทางที่เป็น Redundant Link4.จัดเลือกเส้นทางผ่านทางเครือข่ายไปยัง Autonomous System อื่น ๆ ที่เชื่อมต่อกัน5.มีการเชื่อมต่อระหว่าง Autonomous System มากกว่า 1 เส้น6.ควบคุมการลำเลียงข้อมูลข่าวสารที่วิ่งไปมาระหว่างระบบ Autonomous System7.ท่านยังสามารถใช้ Policy ที่กำหนดให้ท่านสามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดเพื่อเดินทางไปสู่ปลายทางRIP (Routing Information Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของ Internet Gateway Protocol (หรือ Interior Gateway Protocol)การใช้ RIP, gateway host (ที่มี router) จะส่งตาราง routing (ซึ่งมีรายการของ host ทั้งหมดที่ทราบ) ไปยัง host ใกล้เคียงทุก 30 วินาที host ใกล้เคียง จะส่งต่อสารสนเทศไปยัง host ต่อไป จนกระทั่งภายในเครือข่าย จะมีข้อมูลเส้นทางเหมือนกัน สถานะนี้เรียกว่า network convergence การหาระยะของเครือข่าย RIP ใช้การนับแบบ hop เป็นวิธีการในการค้นหา (โปรโตคอลอื่นใช้อัลกอริทึมที่ทันสมัยกว่า เช่น เวลา) แต่ละ host ที่มี router ในเครือข่ายใช้ตารางสารสนเทศ routing ในการค้นหา host ต่อไป เพื่อหาเส้นทางให้กับแพ็คเกต สำหรับปลายทางที่กำหนดRIP ได้รับการพิจารณาว่าคำตอบที่มีประสิทธิผล สำหรับเครือข่าย homogeneous ขนาดเล็ก สำหรับเครือข่ายที่ซับซ้อน การส่งผ่านตาราง routing ทุก 30 วินาทีของ RIP อาจจะทำให้จำนวนรวม ของการใช้เครือข่ายหนาแน่นขึ้น

วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2551

สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2

สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2
1. Router มีกี่โหมด อะไรบ้าง อธิบายให้ละเอียด
ตอบ 1. Router มีกี่โหมด อะไรบ้าง
Routing มีอยู่ 2 แบบ หลักๆ ได้แก่- แบบสเตติก (Static Route)- แบบไดนามิก (Dynamic Route)Static คือการเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การกำหนดเส้นทางการคำนวณเส้นทางทั้งหมด กระทำโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่า เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เหมาะสำหรับสภาพแวดล้อมดังนี้-เหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็ก-เพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่กำหนดไว้ให้ ตายตัว-ไม่ต้องใช้ Software เลือกเส้นทางใดๆทั้งสิ้น-ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทางการจัดตั้ง Configuration สำหรับการเลือกเส้นทางแบบ Staticเป็นที่ทราบดีแล้วว่า การเลือกเส้นทางแบบ Static เป็นลักษณะการเลือกเส้นทางที่ถูกกำหนดโดยผู้จัดการเครือข่าย เพื่อกำหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่ตายตัว หรือเจาะจงเส้นทางปกติ Router สามารถ Forward Packet ไปข้างหน้า บนเส้นทางที่มันรู้จักเท่านั้น ดังนั้นการกำหนดเส้นทางเดินของแพ็กเก็ตให้กับ Router จึงควรให้ความระมัดระวังวิธีการจัด Configure แบบ Static Route ให้กับ Router Cisco ให้ใส่คำสั่ง ip route ลงไปที่ Global Configuration Mode มีตัวอย่างการใช้คำสั่ง ดังนี้ip route network [ mask ] {address interface} [distance] [permanent]-Network เครือข่าย หรือ Subnet ปลายทาง-Mask หมายถึงค่า Subnet mask-Address IP Address ของ Router ใน Hop ต่อไป-Interface ชื่อของ Interface ที่ใช้เพื่อเข้าถึงที่หมายปลายทาง-Distance หมายถึง Administrative Distance-Permanent เป็น Option ถูกใช้เพื่อกำหนด เส้นทางที่ตั้งใจว่าจะไม่มีวันถอดถอนทิ้ง ถึงแม้ว่า จะปิดการใช้งาน Interface ก็ตามdynamic คือExterior Gateway Routing ProtocolDistance Vector Routing ProtocolLink State Routing Protocolเนื่องจาก จุดประสงค์ของการเขียนบทความนี้ ก็เพื่อให้ท่านผู้อ่านมีแนวคิดในการจัดตั้งเครือข่ายและอุปกรณ์ Router เพื่อเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย และเนื่องจากขอบข่ายของหลักวิชาการด้านนี้ ค่อนข้างกว้าง จึงขอตีกรอบให้แคบลง โดยจะขอกล่าวถึงรายละเอียดเพียงบางส่วนในการจัดตั้ง Router ที่ท่านสามารถนำไปใช้ได้ รู้จักกับ Distance Vector Routing Protocol Distance Vector เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ Router ใช้เพื่อการสร้างตาราง Routing และจัดการนำแพ็กเก็ต ส่งออก ไปยังเส้นทางที่กำหนด โดย อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง เช่น Hop เป็นตัวกำหนดว่า เส้นทางใดเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด ที่จะนำแพ็กเก็ตส่งออกไปที่ปลายทาง โดยถือว่า ระยะทางที่ใกล้ที่สุด เป็นเส้นทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือข่ายปลายทางเป็น VectorDistance Vector บางครั้งจะถูกเรียกว่า "Bellman-Ford Algorithm" ซึ่งโปรโตคอลนี้ จะทำให้ Router แต่ละตัว ที่อยู่บนเครือข่ายจะต้องเรียนรู้ลักษณะของ Network Topology โดยการแลกเปลี่ยน Routing Information ของตัวมันเอง กับ Router ที่เชื่อมต่อกันเป็นเพื่อนบ้าน โดยตัว Router เองจะต้องทำการจัดสร้างตารางการเลือกเส้นทางขึ้นมา โดยเอาข้อมูล ข่าวสารที่ได้รับจากเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรง ( ข้อมูลนี้ครอบคลุมไปถึงระยะทางระหว่าง Router ที่เชื่อมต่อกัน)หลักการทำงานได้แก่การที่ Router จะส่งชุด สำเนาที่เป็น Routing Information ชนิดเต็มขั้นของมันไปยัง Router ตัวอื่นๆ ที่เชื่อมต่ออยู่กับมันโดยตรง ด้วยการแลกเปลี่ยน Routing Information กับ Router ตัวอื่นๆ ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงนี้เอง ทำให้ Router แต่ละตัว จะรู้จักซึ่งกันและกัน หรือรู้เขารู้เรา กระบวนการแลกเปลี่ยนนี้ จะดำเนินต่อไปเป็นห้วงๆ ของเวลาที่แน่นอนDistance Vector Algorithm ค่อนข้างเป็นแบบที่เรียบง่าย อีกทั้งออกแบบเครือข่ายได้ง่ายเช่นกัน ปัญหาหลักของของ Distance Vector Algorithm ได้แก่ การคำนวณเส้นทาง จะซับซ้อนขึ้น เมื่อขนาดของเครือข่ายโตขึ้นตัวอย่างของโปรโตคอลที่ทำงานภายใต้ Distance Vector Algorithm ได้แก่ อาร์ไอพี (RIP) หรือ Routing Information ProtocolLink State RoutingLink State Routing ถูกเรียกว่า "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ด้วย Link State Routing นี้ Router แต่ละตัวจะทำการ Broadcast ข้อมูลข่าวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงแบบเป็นระยะๆ ข้อมูลข่าวสารนี้ยังครอบคลุมไป ถึงสถานะของการเชื่อมต่อระหว่างกันด้วยวิธีการของ Link State นี้ Router แต่ละตัวจะทำการสร้างผังที่สมบูรณ์ของเครือข่ายขึ้น จากข้อมูลที่มันได้รับจาก Router อื่นๆทั้งหมด จากนั้นจะนำมาทำการคำนวณเส้นทางจากผังนี้โดยใช้ Algorithm ที่เรียกว่า Dijkstra Shortest Path AlgorithmRouter จะเฝ้าตรวจสอบดูสถานะของการเชื่อมต่ออย่างต่อเนื่อง โดยการแลกเปลี่ยนระหว่างแพ็กเก็ตกับ Router เพื่อนบ้าน แต่หาก Router ไม่ตอบสนองต่อความพยายามที่จะติดต่อด้วย หลายๆครั้ง การเชื่อมต่อก็จะถือว่าตัดขาดลง แต่ถ้าหากสถานะ ของ Router หรือการเชื่อมต่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลข่าวสารนี้จะถูก Broadcast ไปยัง Router ทั้งหมดที่อยู่ในเครือข่ายการจัดตั้ง Configure ให้กับวิธี การจัดเลือกเส้นทางแบบ Dynamicในการจัดตั้งค่าสำหรับการเลือกเส้นทาง (Routing) แบบ Dynamic จะมี 2 คำสั่งสำหรับการใช้งาน ได้แก่ คำสั่ง Router และ Network โดยคำสั่ง Router เป็นคำสั่งที่ทำให้เริ่มต้นการเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้น รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config)#router protocol [keyword]ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายรายละเอียดของรูปแบบคำสั่งProtocol เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบใดแบบหนึ่ง ระหว่าง RIP IGRP OSPF หรือ Enhanced IGRPKeyword ตัวอย่าง เช่น เลขหมายของ Autonomous ซึ่งจะถูกนำมาใช้กับโปรโตคอลที่ต้องการระบบ Autonomous ได้แก่ โปรโตคอล IGRPคำสั่ง Network ก็เป็นคำสั่งที่มีความจำเป็นต่อการใช้งานเช่นกัน เนื่องจากมันสามารถกำหนดว่า Interface ใดที่จะเกี่ยวข้องกับการรับหรือส่ง Packet เพื่อการ Update ตารางเลือกเส้นทาง ขณะเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้นคำสั่ง Network จะเป็นคำสั่งที่ทำให้ โปรโตคอลเลือกเส้นทางเริ่มต้นทำงานบน Interface ต่างๆ ของ Router อีกทั้งยังทำให้ Router สามารถโฆษณาประชาสัมพันธ์เครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ ได้อีกด้วย รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config-router)#network network- numberNetwork-number ในที่นี้หมายถึง เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันโดยตรง และ Network Number จะต้องอยู่ในมาตรฐาน เลขหมาย ของ INTERNIC8.protocol ที่เลือกเส้นทางแบบ dynamic มีอะไรบ้างตอบ โปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบ Dynamic มีอยู่ หลายรูปแบบ ดังนี้1. Interior Gateway Routing Protocol2.Exterior Gateway Routing Protocol3. Distance Vector Routing Protocol4. Link State Routing ProtocolInterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ระหว่าง Roter ภายในองค์กรเดียวกัน ซึ่งได้แก่ RIP , IGRP ,EIGRP และ OSPF Exterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ต่างองค์กรกันหรือความน่าเชื่อถือต่างกัน ซึ่งได้แก่ BGP, EGP Distance Vector เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ Router ใช้เพื่อการสร้างตาราง Routing และจัดการนำแพ็กเก็ตส่งออกไปยังเส้นทางที่กำหนด โดย อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง เช่น Hop เป็นตัวกำหนดว่า เส้นทางใดเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด ที่จะนำแพ็กเก็ตส่งออกไปที่ปลายทาง โดยถือว่า ระยะทางที่ใกล้ที่สุด เป็นเส้นทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือข่ายปลายทางเป็น VectorLink State Routing ถูกเรียกว่า "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ด้วย Link State Routing นี้ Router แต่ละตัวจะทำการ Broadcast ข้อมูลข่าวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงแบบเป็นระยะๆ ข้อมูลข่าวสารนี้ยังครอบคลุมไปถึงสถานะของการเชื่อมต่อระหว่างกันRouting Protocols (เส้นทางการเชื่อมต่อ)Exterior routing Protocol (EGP) เป็นโปรโตคอล สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ router ระหว่าง 2 เครือข่ายของ gateway host ในระบบเครือข่ายแบบอัตโนมัติ ซึ่ง EGP มีการใช้โดยทั่วไป ระหว่าง host บนอินเตอร์เน็ต เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศของตาราง routing โดยตาราง routing ประกอบด้วยรายการ router ตำแหน่งที่ตั้ง และเมทริกของค่าใช้จ่ายของแต่ละ router เพื่อทำให้สามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด กลุ่มของ router แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาภายใน 120 วินาที ถึง 480 วินาที ในการส่งข้อมูลส่งตาราง routing ทั้งหมดไปยังเครือข่ายอื่น ซึ่ง EGP -2 เป็นเวอร์ชันล่าสุดของ EGP Border Gateway Protocol (BGP) เป็นโปรโตคอลสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของเส้นทางระหว่าง gateway host (ซึ่งแต่ละที่จะมี router ของตัวเอง) ในเครือข่ายแบบอัตโนมัติ BGP มักจะได้รับการใช้ระหว่าง gateway host บนระบบอินเตอร์เน็ต ตาราง routing ประกอบด้วยรายการของ router ตำแหน่งและตารางค่าใช้จ่าย (cost metric) ของเส้นทางไปยังrouterแต่ละตัวเพื่อการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด host ที่ใช้การติดต่อด้วยประเภทของ Routing ภายใน Network ที่เชื่อมต่อกับเนตเวิคโดยตรงRouting Information Protocol (RIP) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของInternet Gateway Protocol (หรือ InteriorGatewayProtocol)Open Shortest Path First (OSPF) ถือเป็น เร้าติ้งโปรโตคอล (Routing Protocol) ตัวหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในระบบเน็ตเวิร์ก เนื่องจากมีจุดเด่นในหลายด้าน เช่น การที่ตัวมันเป็น Routing Protocol แบบ Link State, การที่มีอัลกอรึทึมในการค้นหาเส้นทางด้วยตัวเอง ซึ่งเปรียบเสมือนว่า ตัวของ เราเตอร์ที่รัน OSPF ทุกตัวเป็นรูท (Root) หรือ จุดเริ่มต้นของระบบไปยังกิ่งย่อยๆ หรือโหนด (Node) ต่างๆ ซึ่งเป็นเทคนิคในการลดเส้นทางที่วนลูป (Routing Loop) ของการ Routing ได้เป็นอย่างดีEnhance Interior Gateway Routing Protocol (EIGRP) นั้นถือได้ว่าเป็น เราติ้งโปรโตคอลที่มีความรวดเร็วสูงสุดของซิสโก้ในการค้นหาเส้นทางภายใน Intra-AS (Interior Routing Protocol: เราติ้งโปรโตคอลภายใน Autonomous System) ซึ่ง ในเราติ้งโปรโตคอลแบบ EIGRP นี้ จะเป็นการนำเอาข้อดีของการเราติ้งแบบ Distance Vector และ Link State มาผสมผสานกัน (ในหนังสือบางเล่มจะเรียก เราติ้งโปรโตคอลแบบนี้ว่า “Hybrid” (ลูกผสม) หรือ Advanced Distance Vector)

2.จงบอกคำสั่งในแต่ละโหมดมาอย่างน้อย 5 คำสั่งตอบ คำสั่งaccess-enableเป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราวclearเป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราวconnectใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminaldisableปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged modedisconnectยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ networkenableเข้าสู่ privileged Exec modeexitออกจากการใช้ User Exec modehelpใช้เพื่อแสดงรายการ helplatเปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)lockใช้เพื่อ lock terminalloginloginเข้ามาเป็น userlogoutexit ออกจาก EXECmrinfoใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Version และสถานะของ Router เพื่อนบ้านจาก multicast router ตัวหนึ่งmstatแสดงสถิติหลังจากที่ได้ตามรอยเส้นทางแบบ Multicast ของ Router แล้วmtraceใช้ติดตามดู เส้นทาง Multicast แบบย้อนกลับจาก ปลายทางย้อนกลับมาที่ต้นทางname-connectionเป็นการให้ชื่อกับ การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่padเปิดการเชื่อมต่อ X.25 ด้วย X.29 PADPingใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อpppใช้เรียกการเชื่อมต่อแบบ PPPresumeใช้เพื่อการ กลับเข้าสู่การเชื่อมต่อของเครือข่ายอีกครั้งrloginเปิดการเชื่อมต่อ remote Login กับ Server ระยะไกลshowแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการทำงานของ Router ในปัจจุบันslipเริ่มการใช้งาน Slip (serial line protocol)systatเป็นการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Terminal Line เช่นสถานะของระบบtelnetเป็นการเปิด การเชื่อมต่อทาง Telnetterminalเป็นการจัด Parameter ของ Terminal Linetracerouteเป็นการใช้ Traceroute เพื่อการติดตามไปดู ระบบที่อยู่ปลายทางtunnelเปิดการเชื่อมต่อแบบ Tunnelwhereแสดงรายการ ของ Link ที่กำลัง Active ในปัจจุบัน

3. Command prompt ในโหมดต่างๆ
ตอบ Command Mode Command Mode หลักภายใน Cisco IOS ได้แก่User Exec ModePrivileged Exec ModeGlobal Configuration ModeInterface ConfigurationBoot Mode

4. Use exec mode พร้อมรายละเอียด
ตอบ Command Mode หลักภายใน Cisco IOS ได้แก่User Exec ModePrivileged Exec ModeGlobal Configuration ModeInterface ConfigurationBoot ModeUser Exec ModeUser Exec Mode เป็นโหมดแรกที่ท่านจะต้อง Enter เข้าไป เมื่อRouter เริ่มทำงาน วิธีที่จะรู้ว่าท่านได้เข้าสู่ User Exec Mode จาก Prompt ของ Router ได้แก่ Prompt ที่แสดงบนหน้าจอ ได้แก่ ชื่อของ Router แล้วตามด้วยเครื่องหมาย > เช่นRouterhostname >

5.คำสั่งที่ใช้ตรวจสอบสถานะของRout จงบอกอย่างน้อย 5 คำสั่ง
ตอบ show versions , show clock , show startup-config , show interfaces , enable , configure terminal

6. การเลือกเส้นทางแบบ Static คืออะไร
ตอบ การเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การกำหนดเส้นทางการคำนวณเส้นทางทั้งหมด กระทำโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่า เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เหมาะสำหรับสภาพแวดล้อมดังนี้-เหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็ก-เพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่กำหนดไว้ให้ ตายตัว-ไม่ต้องใช้ Software เลือกเส้นทางใดๆทั้งสิ้น-ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทางการจัดตั้ง Configuration สำหรับการเลือกเส้นทางแบบ Staticเป็นที่ทราบดีแล้วว่า การเลือกเส้นทางแบบ Static เป็นลักษณะการเลือกเส้นทางที่ถูกกำหนดโดยผู้จัดการเครือข่าย เพื่อกำหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่ตายตัว หรือเจาะจงเส้นทางปกติ Router สามารถ Forward Packet ไปข้างหน้า บนเส้นทางที่มันรู้จักเท่านั้น ดังนั้นการกำหนดเส้นทางเดินของแพ็กเก็ตให้กับ Router จึงควรให้ความระมัดระวังวิธีการจัด Configure แบบ Static Route ให้กับ Router Cisco ให้ใส่คำสั่ง ip route ลงไปที่ Global Configuration Mode มีตัวอย่างการใช้คำสั่ง ดังนี้ip route network [ mask ] {address interface} [distance] [permanent]-Network เครือข่าย หรือ Subnet ปลายทาง-Mask หมายถึงค่า Subnet mask-Address IP Address ของ Router ใน Hop ต่อไป-Interface ชื่อของ Interface ที่ใช้เพื่อเข้าถึงที่หมายปลายทาง-Distance หมายถึง Administrative Distance-Permanent เป็น Option ถูกใช้เพื่อกำหนด เส้นทางที่ตั้งใจว่าจะไม่มีวันถอดถอนทิ้ง ถึงแม้ว่า จะปิดการใช้งาน Interface ก็ตาม

7. การเลือกเส้นทางแบบ Dynamicคืออะไร
ตอบ dynamic คือตอบ : ประเภทของโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบ Dynamicโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบ Dynamic มีอยู่ หลายรูปแบบ ดังนี้Exterior Gateway Routing ProtocolDistance Vector Routing ProtocolLink State Routing Protocolเนื่องจาก จุดประสงค์ของการเขียนบทความนี้ ก็เพื่อให้ท่านผู้อ่านมีแนวคิดในการจัดตั้งเครือข่ายและอุปกรณ์ Router เพื่อเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย และเนื่องจากขอบข่ายของหลักวิชาการด้านนี้ ค่อนข้างกว้าง จึงขอตีกรอบให้แคบลง โดยจะขอกล่าวถึงรายละเอียดเพียงบางส่วนในการจัดตั้ง Router ที่ท่านสามารถนำไปใช้ได้ รู้จักกับ Distance Vector Routing Protocol Distance Vector เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ Router ใช้เพื่อการสร้างตาราง Routing และจัดการนำแพ็กเก็ต ส่งออก ไปยังเส้นทางที่กำหนด โดย อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง เช่น Hop เป็นตัวกำหนดว่า เส้นทางใดเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด ที่จะนำแพ็กเก็ตส่งออกไปที่ปลายทาง โดยถือว่า ระยะทางที่ใกล้ที่สุด เป็นเส้นทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือข่ายปลายทางเป็น VectorDistance Vector บางครั้งจะถูกเรียกว่า "Bellman-Ford Algorithm" ซึ่งโปรโตคอลนี้ จะทำให้ Router แต่ละตัว ที่อยู่บนเครือข่ายจะต้องเรียนรู้ลักษณะของ Network Topology โดยการแลกเปลี่ยน Routing Information ของตัวมันเอง กับ Router ที่เชื่อมต่อกันเป็นเพื่อนบ้าน โดยตัว Router เองจะต้องทำการจัดสร้างตารางการเลือกเส้นทางขึ้นมา โดยเอาข้อมูล ข่าวสารที่ได้รับจากเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรง ( ข้อมูลนี้ครอบคลุมไปถึงระยะทางระหว่าง Router ที่เชื่อมต่อกัน)หลักการทำงานได้แก่การที่ Router จะส่งชุด สำเนาที่เป็น Routing Information ชนิดเต็มขั้นของมันไปยัง Router ตัวอื่นๆ ที่เชื่อมต่ออยู่กับมันโดยตรง ด้วยการแลกเปลี่ยน Routing Information กับ Router ตัวอื่นๆ ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงนี้เอง ทำให้ Router แต่ละตัว จะรู้จักซึ่งกันและกัน หรือรู้เขารู้เรา กระบวนการแลกเปลี่ยนนี้ จะดำเนินต่อไปเป็นห้วงๆ ของเวลาที่แน่นอนDistance Vector Algorithm ค่อนข้างเป็นแบบที่เรียบง่าย อีกทั้งออกแบบเครือข่ายได้ง่ายเช่นกัน ปัญหาหลักของของ Distance Vector Algorithm ได้แก่ การคำนวณเส้นทาง จะซับซ้อนขึ้น เมื่อขนาดของเครือข่ายโตขึ้นตัวอย่างของโปรโตคอลที่ทำงานภายใต้ Distance Vector Algorithm ได้แก่ อาร์ไอพี (RIP) หรือ Routing Information ProtocolLink State RoutingLink State Routing ถูกเรียกว่า "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ด้วย Link State Routing นี้ Router แต่ละตัวจะทำการ Broadcast ข้อมูลข่าวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงแบบเป็นระยะๆ ข้อมูลข่าวสารนี้ยังครอบคลุมไป ถึงสถานะของการเชื่อมต่อระหว่างกันด้วยวิธีการของ Link State นี้ Router แต่ละตัวจะทำการสร้างผังที่สมบูรณ์ของเครือข่ายขึ้น จากข้อมูลที่มันได้รับจาก Router อื่นๆทั้งหมด จากนั้นจะนำมาทำการคำนวณเส้นทางจากผังนี้โดยใช้ Algorithm ที่เรียกว่า Dijkstra Shortest Path AlgorithmRouter จะเฝ้าตรวจสอบดูสถานะของการเชื่อมต่ออย่างต่อเนื่อง โดยการแลกเปลี่ยนระหว่างแพ็กเก็ตกับ Router เพื่อนบ้าน แต่หาก Router ไม่ตอบสนองต่อความพยายามที่จะติดต่อด้วย หลายๆครั้ง การเชื่อมต่อก็จะถือว่าตัดขาดลง แต่ถ้าหากสถานะ ของ Router หรือการเชื่อมต่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลข่าวสารนี้จะถูก Broadcast ไปยัง Router ทั้งหมดที่อยู่ในเครือข่ายการจัดตั้ง Configure ให้กับวิธี การจัดเลือกเส้นทางแบบ Dynamicในการจัดตั้งค่าสำหรับการเลือกเส้นทาง (Routing) แบบ Dynamic จะมี 2 คำสั่งสำหรับการใช้งาน ได้แก่ คำสั่ง Router และ Network โดยคำสั่ง Router เป็นคำสั่งที่ทำให้เริ่มต้นการเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้น รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config)#router protocol [keyword]ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายรายละเอียดของรูปแบบคำสั่งProtocol เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบใดแบบหนึ่ง ระหว่าง RIP IGRP OSPF หรือ Enhanced IGRPKeyword ตัวอย่าง เช่น เลขหมายของ Autonomous ซึ่งจะถูกนำมาใช้กับโปรโตคอลที่ต้องการระบบ Autonomous ได้แก่ โปรโตคอล IGRPคำสั่ง Network ก็เป็นคำสั่งที่มีความจำเป็นต่อการใช้งานเช่นกัน เนื่องจากมันสามารถกำหนดว่า Interface ใดที่จะเกี่ยวข้องกับการรับหรือส่ง Packet เพื่อการ Update ตารางเลือกเส้นทาง ขณะเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้นคำสั่ง Network จะเป็นคำสั่งที่ทำให้ โปรโตคอลเลือกเส้นทางเริ่มต้นทำงานบน Interface ต่างๆ ของ Router อีกทั้งยังทำให้ Router สามารถโฆษณาประชาสัมพันธ์เครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ ได้อีกด้วย รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config-router)#network network- numberNetwork-number ในที่นี้หมายถึง เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันโดยตรง และ Network Number จะต้องอยู่ในมาตรฐาน เลขหมาย ของ INTERNIC

8. Protocal ที่เลือกเส้นทางแบบ dynamic มีอะไรบ้าง
ตอบ โปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบ Dynamic มีอยู่ หลายรูปแบบ ดังนี้
1. Interior Gateway Routing Protocol
2.Exterior Gateway Routing Protocol
3. Distance Vector Routing Protocol
4. Link State Routing ProtocolInterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ระหว่าง Roter ภายในองค์กรเดียวกัน ซึ่งได้แก่ RIP , IGRP ,EIGRP และ OSPF Exterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ต่างองค์กรกันหรือความน่าเชื่อถือต่างกัน ซึ่งได้แก่ BGP, EGP Distance Vector เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ Router ใช้เพื่อการสร้างตาราง Routing และจัดการนำแพ็กเก็ตส่งออกไปยังเส้นทางที่กำหนด โดย อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง เช่น Hop เป็นตัวกำหนดว่า เส้นทางใดเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด ที่จะนำแพ็กเก็ตส่งออกไปที่ปลายทาง โดยถือว่า ระยะทางที่ใกล้ที่สุด เป็นเส้นทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือข่ายปลายทางเป็น VectorLink State Routing ถูกเรียกว่า "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ด้วย Link State Routing นี้ Router แต่ละตัวจะทำการ Broadcast ข้อมูลข่าวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงแบบเป็นระยะๆ ข้อมูลข่าวสารนี้ยังครอบคลุมไปถึงสถานะของการเชื่อมต่อระหว่างกันRouting Protocols (เส้นทางการเชื่อมต่อ)Exterior routing Protocol (EGP) เป็นโปรโตคอล สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ router ระหว่าง 2 เครือข่ายของ gateway host ในระบบเครือข่ายแบบอัตโนมัติ ซึ่ง EGP มีการใช้โดยทั่วไป ระหว่าง host บนอินเตอร์เน็ต เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศของตาราง routing โดยตาราง routing ประกอบด้วยรายการ router ตำแหน่งที่ตั้ง และเมทริกของค่าใช้จ่ายของแต่ละ router เพื่อทำให้สามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด กลุ่มของ router แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาภายใน 120 วินาที ถึง 480 วินาที ในการส่งข้อมูลส่งตาราง routing ทั้งหมดไปยังเครือข่ายอื่น ซึ่ง EGP -2 เป็นเวอร์ชันล่าสุดของ EGP Border Gateway Protocol (BGP) เป็นโปรโตคอลสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของเส้นทางระหว่าง gateway host (ซึ่งแต่ละที่จะมี router ของตัวเอง) ในเครือข่ายแบบอัตโนมัติ BGP มักจะได้รับการใช้ระหว่าง gateway host บนระบบอินเตอร์เน็ต ตาราง routing ประกอบด้วยรายการของ router ตำแหน่งและตารางค่าใช้จ่าย (cost metric) ของเส้นทางไปยังrouterแต่ละตัวเพื่อการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด host ที่ใช้การติดต่อด้วยประเภทของ Routing ภายใน Network ที่เชื่อมต่อกับเนตเวิคโดยตรงRouting Information Protocol (RIP) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของInternet Gateway Protocol (หรือ InteriorGatewayProtocol)Open Shortest Path First (OSPF) ถือเป็น เร้าติ้งโปรโตคอล (Routing Protocol) ตัวหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในระบบเน็ตเวิร์ก เนื่องจากมีจุดเด่นในหลายด้าน เช่น การที่ตัวมันเป็น Routing Protocol แบบ Link State, การที่มีอัลกอรึทึมในการค้นหาเส้นทางด้วยตัวเอง ซึ่งเปรียบเสมือนว่า ตัวของ เราเตอร์ที่รัน OSPF ทุกตัวเป็นรูท (Root) หรือ จุดเริ่มต้นของระบบไปยังกิ่งย่อยๆ หรือโหนด (Node) ต่างๆ ซึ่งเป็นเทคนิคในการลดเส้นทางที่วนลูป (Routing Loop) ของการ Routing ได้เป็นอย่างดีEnhance Interior Gateway Routing Protocol (EIGRP) นั้นถือได้ว่าเป็น เราติ้งโปรโตคอลที่มีความรวดเร็วสูงสุดของซิสโก้ในการค้นหาเส้นทางภายใน Intra-AS (Interior Routing Protocol: เราติ้งโปรโตคอลภายใน Autonomous System) ซึ่ง ในเราติ้งโปรโตคอลแบบ EIGRP นี้ จะเป็นการนำเอาข้อดีของการเราติ้งแบบ Distance Vector และ Link State มาผสมผสานกัน (ในหนังสือบางเล่มจะเรียก เราติ้งโปรโตคอลแบบนี้ว่า “Hybrid” (ลูกผสม) หรือ Advanced Distance Vector)

9. อธิบาย Protocal Distance Vector ให้เข้าใจ
ตอบ ลักษณะที่สำคัญของการติดต่อแบบ Distance-vector คือ ในแต่ละ Router จะมีข้อมูล routing table เอาไว้พิจารณาเส้นทางการส่งข้อมูล โดยพิจารณาจากระยะทางที่ข้อมูลจะไปถึงปลายทางเป็นหลัก จากรูป Router A จะทราบว่าถ้าต้องการส่งข้อมูลข้ามเครือข่ายไปยังเครื่องที่อยู่ใน Network B แล้วนั้น ข้อมูลจะข้าม Router ไป 1 ครั้ง หรือเรียกว่า 1 hop ในขณะที่ส่งข้อมูลไปยังเครื่องใน Network C ข้อมูลจะต้องข้ามเครือข่ายผ่าน Router A ไปยัง Router B เสียก่อน ทำให้การเดินทางของข้อมูลผ่านเป็น 2 hop อย่างไรก็ตามที่ Router B จะมองเห็น Network B และ Network C อยู่ห่างออกไปโดยการส่งข้อมูล 1 hop และ Network A เป็น2 hop ดังนั้น Router A และ Router B จะมองเห็นภาพของเครือข่ายที่เชื่อมต่ออยู่แตกต่างกันเป็นตารางข้อมูล routing table ของตนเอง จากรูปการส่งข้อมูลตามลักษณะของ Distance-vector routing protocol จะเลือกหาเส้นทางที่ดีที่สุดและมีการคำนวณตาม routing algorithm เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งมักจะเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดและมีจำนวน hop น้อยกว่า โดยอุปกรณ์ Router ที่เชื่อมต่อกันมักจะมีการปรับปรุงข้อมูลใน routing table อยู่เป็นระยะๆ ด้วยการ Broadcast ข้อมูลทั้งหมดใน routing table ไปในเครือข่ายตามระยะเวลาที่ตั้งเอาไว้การใช้งานแบบ Distance-vector เหมาะกับเครือข่ายที่มีขนาดไม่ใหญ่มากและมีการเชื่อมต่อที่ไม่ซับซ้อนเกินไป ตัวอย่างโปรโตคอลที่ทำงานเป็นแบบ Distance-vector ได้แก่ โปรโตคอล RIP (Routing Information Protocol) และโปรโตคอล IGRP (Interior Gateway Routing Protocol) เป็นต้น

10. Protocol BGP คืออะไรมีหลักการทำงานอย่างไร
ตอบ Border Gateway Protocol (BGP) เป็นโปรโตคอลสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของเส้นทางระหว่าง gateway host (ซึ่งแต่ละที่จะมี router ของตัวเอง) ในเครือข่ายแบบอัตโนมัติ BGP มักจะได้รับการใช้ระหว่าง gateway host บนระบบอินเตอร์เน็ต ตาราง routing ประกอบด้วยรายการของ router ตำแหน่งและตารางค่าใช้จ่าย (cost metric) ของเส้นทางไปยัง router แต่ละตัว เพื่อการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด host ที่ใช้การติดต่อด้วย BGP จะใช้ Transmission Control Protocol (TCP) และส่งข้อมูลที่ปรับปรุงแล้วของตาราง router เฉพาะ host ที่พบว่ามีการเปลี่ยนแปลง จึงมีผลเฉพาะส่วนของตาราง router ที่ส่ง BGP-4 เป็นเวอร์ชันล่าสุด ซึ่งให้ผู้บริหารระบบทำการคอนฟิก cost metric ตามนโยบาย การติดต่อด้วย BGP ของระบบ แบบอัตโนมัติที่ใช้ Internet BGP (IBGP) จะทำงานได้ไม่ดีกับ IGP เนื่องจาก router ภายในระบบอัตโนมัติต้องใช้ตาราง routing 2 ตาราง คือ ตารางของ IGP (Internet gateway protocol) และตารางของ IBGP BGP เป็นโปรโตคอลที่ทันสมัยกว่า Exterior Gateway Protocol

11. สายใยแก้วนำแสงมีกี่ชนิด
ตอบ ชนิดคือไฟเบอร์ออฟติค

12. สัญญาณแก้วใยแก้วนำแสงต่างๆ
ตอบ อนาล็อกกับดิจิตอล

13. จงบอกข้อดีของเส้นใยแก้วนำแสง
ตอบ 1. มีน้ำหนักเบาและไม่เป็นสนิม ซึ่งเหมาะมากสำหรับใช้งานในยานอวกาศ และรถยนต์
2. เส้นใยแสง 1 เส้น สามารถที่จะมีช่องสัญญาณเสียงได้มากเท่ากับ 1500 คู่สาย
3. ความห่างของตัวขยายสัญญาณสำหรับเส้นใยแสงมีค่าตั้งแต่ 35 ถึง 80 กิโลเมตร ซึ่งตรงข้ามกับสายธรรมดา ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึงแค่ 1.5 กิโลเมตรเท่านั้น4. เส้นใยแสงจะไม่มีการรบกวนจากฟ้าแลบ และการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

14. ขนาดของ core และ cladding ในเส้นใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด
ตอบ แท่งควอร์ต ซึ่งผ่านกระบวนการ Modefied Chemical Vapor Deposition (MCVD) แล้วจะถูกวางในแนวตั้งในหอดึง (Drawing Tower) ซึ่งจะถูกให้ความร้อนต่ออีก (2200 F) และถูกดึงลงด้านล่าง โดยหลักการของการหลอมเหลวควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และขบวนการการดึง เพื่อจะทำให้เส้นใยแสงคุณภาพสูง มีความยาวประมาณ 6.25 กิโลเมตร และเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 125 ไมโครเมตร ศูนย์กลางซึ่งถูกเรียกว่า แกน หรือ CORE (เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 ไมโครเมตร) จะถูกล้อมรอบด้วยควอร์ตที่บริสุทธิ์น้อยกว่า ซึ่งถูกเรียกว่า ชั้นคลุม หรือ cladding (ขอบเขตประมาณ 117 ไมโครเมตร

15. การเชื่อมต่อดดยวิธีการหลอมรวม ทำได้โดยวิธีใด
ตอบ การเชื่อมต่อแบบหลอมรวม เป็นการเชื่อมต่อ Fiber Optic สองเส้นเข้าด้วยกัน โดยการให้ความร้อนที่ปลายของเส้น Fiber Optic จากนั้นปลายเส้น Fiber Optic จะถูกดันออกมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อกันในลักษณะนี้ เป็นการเชื่อมต่อโดยถาวร จนทำให้ดูเหมือนรวมเป็นเส้นเดียวกัน การสูญเสียจากการเชื่อมต่อในลักษณะนี้ จะทำให้มีความสูญเสีย ประมาณ 0.01 - 0.2 dB ในขั้นตอนการเชื่อมต่อนี้ ความร้อนที่ทำให้ปลายเส้น Fiber Optic อ่อนตัวลงด้วยประกายไฟที่เกิดจากการ Arc ระหว่างขั้ว Electrode ขณะทำการ หลอมรวม ซึ่งจะยังผลให้การเชื่อมต่อของ Fiber Optic เป็นเนื้อเดียวกัน

วันอังคารที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ข้อสอบอัตนัย
1.เราเตอร์ คืออะไร
ตอบ เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในระดับชั้นเน็ตเวิร์กตามรูปข้างล่างนี้ เราเตอร์ทำงานร่วมกับฮาร์ดแวร์ในระดับเดทาลิงค์ได้หลายรูปแบบ
2.เราเตอร์มีคุณสมบัติและประสิทธิภาพที่ดีในการเชื่อมต่อเครือข่ายอะไรบ้าง
ตอบ 1.ทำงานได้ทั้งแบบ รีพีตเตอร์ บริดจ์ และเกทเวย์
2.แบ่งแยกเครือข่ายขนาดใหญ่ให้เป็นเครือข่ายย่อย ( Sub-network )
3.สามารถควบคุมการบรอดคาสต์ระหว่างเซกเมนต์ ( Broadcast Storm control )
4.สร้างระบบรักษาความปลอดภัยได้หลายแบบ ( Network Security Firewall )
3.อุปกรณ์เราเตอร์ ทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีในแบบเราติง ซึ่งถ้ามองย้อนหลังไปในอดีตนั้น มีบทบาทมากในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4. อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยง คือ อะไร
ตอบ เราเตอร์
5. อะไรเป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายสองเครือข่ายที่แยกจากกัน
ตอบ บริดจ์
6. อุปกรณ์หลักในการเชื่อมโยงเครือข่าย คือ
ตอบ บริดจ์ เราเตอร์ และ สวิตซ์
7. เราเตอร์มีความสามารถใช้โปรโตคอลได้หลากหลาย สิ่งหนึ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้คืออะไร
ตอบ ซอฟต์แวร์จัดการระบบเครือข่าย ( Network Operating System )
8. การป้องกันการกระจายสัญญาณ คืออะไร
ตอบ อุปกรณ์เราเตอร์ป้องกันการกระจายสัญญาณ ( Broadcast ) ข้ามเซกเมนต์ ซึงแตกต่างจากรีพีตเตอร์และบริดจ์
9. การป้องกันการกระจายสัญญาณ คืออะไร
ตอบ อุปกรณ์เราเตอร์ป้องกันการกระจายสัญญาณ ( Broadcast ) ข้ามเซกเมนต์ ซึงแตกต่างจากรีพีตเตอร์และบริดจ์
10.Network-dependent Layers ทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ เกี่ยวกับการรับส่งข้อมูลผ่านสายส่ง และควบคุมการรับส่งข้อมูล.ตรวจสอบข้อผิดพลาด รวมทั้งเลื่อกเส้นทางที่ใช้ในการรับส่ง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์เป็นหลัก

วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ข้อสอบปรนัย 10 ข้อ 23 ก.ค.51

ปรนัย 10
ข้อ1.ในอินเทอร์เน็ตมักเรียกเราเตอร์ว่า ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ก.ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ข.พีซีเราเตอร์
ค.ดีอีเราเตอร์
ง.อีอีเราเตอร์
2.ไอพี เราเตอร์ ทำหน้าที่?
ก.เป็นจุดกำเนิดเครือข่าย
ข.ควบคุมระบบทั้งหมด
ค.ทำหน้าที่เลือกเส้นทางโดยสร้างแผนที่เครือข่ายและเก็บอยู่ในรูปตารางเส้นทาง เมื่อเราเตอร์ได้รับแพ็กเก็ตก็จะตรวจสอบแอดเดรสปลายทางและส่งแพ็กเก็ตไปยัง อินเทอร์เฟสที่เป็นช่องทางไปสู่เครือข่ายปลายทาง
ง.ควบคุมการ์ดจอ
3.อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต หรือเรียกว่า ?
ก.สวิตช์แพ็กเก็ต
ข.ดาต้าร์แพ็กเก็ต
ค.เฟชแพ็กเก็ต
ง.แพ็กเก็ต
4.เราเตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในระดับชั้นใด
ก.ระดับกลาง
ข.ระดับแรก
ค.ทุกระดับชั้น
ง.ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
5.คุณลักษณะของโครงสร้างเราเตอร์ ที่กระตุ้นให้เกิดระบบเครือข่ายไอพีรุ่นต่อไป มีดัง นี้ ยกเว้นขอใด
ก.ประมวลผลแบบคู่ขนานปริมาณมหาศาล
ข.ตรวจเช็คสภาพข้อมูลแต่ละระยะได้
ค.ประมวล ผลแบบกระจาย
ง.ควลคุมไวรัส
6.ผลิตภัณฑ์เราเตอร์ในตระกูล ใดถือเป็นเราเตอร์ตัวแรกในอุตสาหกรรม ที่สามารถรองรับบริการด้านข้อมูล เสียง และวิดีโอภายใต้ระบบรักษาความปลอดภัย
ก. Cisco 3800, Cisco 2800 และ Cisco 3800
ข.MRS
ค. Cisco 1800 Series
ง. Cisco 1820Series
7.เราเตอร์แบบรุ่นใดเป็นเราเตอร์ครบวงจร
ก.Cisco 1800 Series
ข.Cisco 3800
ค.Cisco 2802
ง.Cisco 2803
8.แอดเดรสที่ใช้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ใช้รหัสตัวเลขกี่บิต
ก.24 บิต
ข.32 บิต
ค.38 บิต
ง.64 บิต
9. เราเตอร์จะช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ สามารถสื่อสารกันได้ หรือไม่
ก.ไม่ได้
ข.ได้
ค.อาจจะได้
ง.ไม่มีข้อถูก
10.เราเตอร์ เรียกอีกอย่างว่า?
ก.รูตเตอร์
ข.รูเตอร์
ค.คูเปอร์
ง.แร็คเตอร์

วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

มาตรฐาน TIA EIA DOC

มาตรฐาน TIA EIA DOC
การเข้าสาย LAN
การเข้าหัวสาย UTP นั้นมีอยู่สองมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้คือ TIA/EIA 568A และ 568B ส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียงลำดับสายจะแสดงดังตารางและรูปด้านล่าง

PIN #

Signal

TIA/EIA 568A

TIA/EIA 568B

1

Transmit+

ขาวเขียว

ขาวส้ม

2

Transmit+

เขียว

ส้ม

3

Receive+

ขาวส้ม

ขาวเขียว

4

N/A

น้ำเงิน

น้ำเงิน

5

N/A

ขาวน้ำเงิน

ขาวน้ำเงิน

6

Receive+

ส้ม

เขียว

7

N/A

ขาวน้ำตาล

ขาวน้ำตาล

8

N/A

น้ำตาล

น้ำตาล



สาย UTP และหัวเชื่อมต่อแบบ RJ-45


การทำสายแพทช์คอร์ดหรือสายที่เชื่อมระหว่างฮับกับคอมพิวเตอร์นั้น ปลายทางทั้งสองข้างจะต้องเข้าตามมาตรฐาน TIA/EIA 568B ส่วนสายครอสโอเวอร์หรือสายที่เชื่อมระหว่างฮับกับฮับหรือคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์นั้น ปลายสายด้านหนึ่งต้องเข้าแบบ TIA/EIA 568A ส่วนปลายสายอีกด้านหนึ่งต้องเข้าแบบ TIA/EIA 568B

วันอังคารที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ข้อสอบ 10 ข้อ(2)

ข้อสอบเรื่องอีเทอร์เน็ต
1.การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ตเชื่อมต่อโดยวิธีใด
ก.ใช้วิธีการส่งสัญญาณแบบเบสแบนด์
ข.ส่งโดยผ่านคอมพิวเตอร์
ค.ส่งผ่านการเชื่อมต่อ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
2.อีเทอร์เน็ตถูกพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัยใด
ก.มหาวิทยาลัย Hawaii
ข. มหาวิทยาลัย Xerox
ค.มหาวิทยาลัยทุกแห่ง
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
3.ใครเป็นผู้พัฒนาอีเทอร์เน็ตขึ้น
ก. Xerox
ข. Aloha
ค. Access
ง. Detection
ตอบ ข.
4.อีเทอร์เน็ตได้พัฒนามาจากรากฐานบนเครือข่ายใด
ก. In-house Tecgnolohy
ข. Digital Eqripment
ค. Packet Radio
ง.ทุกเครือค่าย
ตอบ ค.
5. ความหมายของIEEE 802.3คือข้อใด
ก.เป็นเครือที่มีความเร็วสูง
ข.เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที
ค.การส่งข้อมูล
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.
6.คอมพิวเตอร์มีการรับส่งข้อมูลบนสายของอะไร
ก.เคเบิล
ข.ทองแดง
ค.สายไฟ
ง.แพ็กเกต
ตอบ ก.
7. IEEE 802.2มาคู่กับอะไร
ก.CSMA/CD
ข. MAN
ค. LLC
ง. IBM
ตอบ ค.
8.ฟาสต์อีเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
ก.อีเทอร์เน็ตความเร็วสูง
ข.เวอร์ชั่นหนึ่งของอีเทอร์เน็ต
ค.กราฟิกดีไซน์
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
9.ข้อใดไม่เป็นการทำงานของ IEEE802.3z
ก.เพิ่มความเร็วของ Switch-to-Server Link
ข.การเพิ่มความเร็วในการรับส่งข้อมูล
ค.ส่งข้อมูลระหว่างตัว Gigabit switch กับ Serverประสิทธิภาพสูงซึ่งติดตั้ง Gigabit interface
ง.ไม่มีข้อถูก
ตอบ ง.
10.ฟาสต์อีเทอร์เน็ตสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานด้านใด
ก.กราฟิกดีไซน์
ข.การพิมพ์
ค.การนำเสนอ
ง.การตกแต่งภาพ
ตอบ ก.

ข้อสอบ 10 ข้อ

ข้อสอบการใช้คำสั่งต่างๆ
1.คำสั่ง ping ใช้ตรวจสอบอะไร
ก .ตรวจสอบการเชื่อมต่อ
ข.ค่าต่าง ๆ ภายในเครื่อง
ค.ดูสถิติในระบบ,สถานะ,protocol
ง.ดูหมายเลข card lan
ตอบ ก.
2.คำสั่ง ipconfigใช้ตรวจสอบอะไร
ก.ดูสถิติในระบบ,สถานะ,protocol
ข. ดูหมายเลข card lan
ค.ค่าต่าง ๆ ภายในเครื่อง
ง.ตรวจสอบการเชื่อมต่อ
ตอบ ค.
3.คำสั่ง netstat ใช้ตรวจสอบอะไร
ก.ดูหมายเลข card lan
ข.ดูสถิติในระบบ,สถานะ,protocol
ค.ตรวจสอบการเชื่อมต่อ
ง.ค่าต่าง ๆ ภายในเครื่อง
ตอบ ข.
4.คำสั่ง ARP ใช้ตรวจสอบอะไร
ก.ค่าต่าง ๆ ภายในเครื่อง
ข.ตรวจสอบการเชื่อมต่อ
ค.ดูหมายเลข card lan
ง.ดูสถิติในระบบ,สถานะ,protocol
ตอบ ค.
5.คำสั่ง tracert ใช้ตรวจสอบอะไร
ก.ดูสถิติในระบบ,สถานะ,protocol
ข.ตรวจสอบการเดินทางไปยังปลายทาง
ค.ดูหมายเลข card lan
ง.ตรวจสอบการเชื่อมต่อ
ตอบ ข.
6.การเข้าไปตรวจสอบคำสั่งต่างๆสามารถเข้าไปตรวจสอบโดยวิธีใด
ก.Start > Run > พิมพ์ Command >OK
ข.ข้าไปในโปรแกรม
ค.เข้าทางอินเตอร์เน็ต
ง.เข้าได้ทุกวิธี
ตอบ ก.
7. ping 203.151.239.2 เป็นการทดสอบเส้นทางระหว่างเครื่องชนิดใด
ก.เครื่องที่มี IP 203.151.239.2
ข.เครื่องที่มี203.152.236.2
ค.เครื่องที่มี203.155.236.0
ง.เครื่องที่มี203.125.306.0
ตอบ ก.
8.nslookupเป็นการตรวจสอบอะไร
ก.TCP/IP Protocol
ข. Network
ค.IP Address
ง.ตรวจสอบการเชื่อมต่อ
ตอบ ค.
9.ข้อมูลIP Adress202.144.49.110 หมายเลขที่202คืออะไร
ก. Network number
ข.Host number
ค.Subnet Mask
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
10. จากข้อ9 หมายเลข144คืออะไร
ก. Network number
ข.Host number
ค.Subnet Mask
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.

วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551

การบ้าน วันที่ 11 มิถุนายน

basic ‘s datacommunicationCommunication
การย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้เกิดประโยชน์เทคโนโลยีสมัยนี้มีการเชื่อมต่อกันทั่วโลกWhy Study Data Communication? เพื่อที่จะได้วิธีการย้ายข้อมูลที่ถูกต้อง และในสมัยก่อนมีความลำบากมากในการสื่อสาร จึงนำมาเป็นตัวแทนในการสื่อสารนิยามการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายทอด หรือการรับ-ส่งข้อมูล จากจุดใดจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ผ่านสื่อชนิดใดๆก็ได้ โดยข้อมูลจะหมายถึง ข้อความ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ก็ได้ การสื่อสารข้อมูลโดยปกติเกิดขึ้นระหว่าง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป

ความหมาย ของ Basic’s IP AddressIP Address
คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุดการสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า Inter NIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง Inter NIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครื่อง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address การแบ่งขนาดของเครือข่าย เรา

สามารถแบ่งขนาดของการแจกจ่าย Network Address ได้ 3 ขนาดคือ
1. Class A nnn.ccc.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 1-126) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้านหมายเลข
2. Class B nnn.nnn.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 128-191) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากเป็นอันดับสอง คือ 65,000 หมายเลข
3. Class c nnn.nnn.nnn.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 192-233) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้น้อยที่สุด คือ 256 หมายเลขnnn หมายถึง Network Address ccc หมายถึง Computer Address หมายเลขต้องห้าม เนื่องจากเครือข่ายก็อาจจำเป็นต้องใช้ IP Address ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการจำกัดบางหมายเลขเพื่อใช้เป็นการภายใน ได้แก่
1. Class A ตั้งแต่ 10.xxx.xxx.xxx
2. Class B ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx
3. Class C ตั้งแต่ 192.168.0.xxx ถึง 192.168.255.xxxสำหรับภายในองค์กร ก็มีหมายเลขต้องห้ามเช่นกัน ได้แก่
1. 127.xxx.xxx.xxx หมายเลขนี้ใช้สื่อสารกับตัวเอง
2. 0.0.0.0
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

แปลง IP
209.123.226.168
=11010001 01111011 11100010

198.60.70.8
111000110 00111100 01000110 01010001

CIDR
/22
11111111.11111111.11111100.00000000
Subnet Mask = 255. 255. 252. 0จำนวน
Host = (2^10) - 2 = 1024 - 2 = 1022 Host

/18
11111111.11111111.11000000.00000000
Subnet Mask = 255. 255. 192. 0จำนวน
Host = (2^14) -2 = 16384 -2 = 16382 Host

/2711111111.11111111.11111111.11100000
Subnet Mask = 255. 255. 255. 240จำนวน
Host = (2^5) – 2 = 32 – 2 = 30 Host

ข้อสอบเรื่อง IP 5 ข้อ
1. IP Address มีอยู่กี่บิต
ก. 4 บิต
ข. 8
ค.16 บิต
ง. 32 บิต
เฉลย ง. 32 บิต

2. IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คืออะไร
ก. Network Address และ Computer Address
ข. Computer Address และ Internet Address
ค. Network Address และ Internet Address
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ก. Network Address และ Computer Address

3. 209.123.226.168 อยู่ในclass อะไร
ก. Class A
ข. Class B
ค. Class C
ง. Class D
เฉลย ค. Class C

4. การจำกัดบางหมายเลขเพื่อใช้เป็นการภายใน หมายเลขใดที่อยู่ใน class B
ก. ตั้งแต่ 10.xxx.xxx.xxx
ข. ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx
ค. ตั้งแต่ 192.168.0.xxx ถึง 192.168.255.xxx
ง. ไม่มีข้อถูก
เฉลย ข. ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx

5. สำหรับภายในองค์กร ก็มีหมายเลขต้องห้ามใช้คือหมายเลขใด
ก. 127.xxx.xxx.xxx
ข. 0.0.0.0
ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
ง. ไม่มีข้อถูก
เฉลยค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข

สอบเรื่อง CIDR 5 ข้อ

1. CIDR มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าอะไร
ก. Super net
ข. subnet
ค. broadcast
ง. ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก. Super net

2. ข้อใดคือ Subnet Mask ของ IP address 45 . 23 . 21 . 8
ก. 255 . 255 . 0 . 0
ข. 255 . 255 . 255 . 0
ค. 255 . 192 . 0 . 0
ง. 255 . 255 . 255 . 240
เฉลย ก. 255 . 255 . 0 . 0

3. หมายเลข Host มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าอะไร
ก. Prefix
ข. Suffix
ค.Perfix
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ค
เฉลย ข. Suffix

4. Subnet Mask = 255. 255. 255. 240 แปลงเป็นเลขฐานสองได้ข้อใด
ก. 11000110 00111100 01000110 01010001
ข. 11111111 11111111 11111100 00000000
ค. 11111111 11111111 11000000 00000000
ง. 11111111 11111111 11111111 11100000
เฉลย ง. 11111111 11111111 11111111

5. Subnet Mask ของ Length (CIDR) /7 คือข้อ
ก. 248.0.0.0
ข. 252.0.0.0
ค. 254.0.0.
255.0.0.0
เฉลย ค. 254.0.0.0